http://bailang.igetweb.com
สร้างเว็บไซต์Engine by iGetWeb.com

 หน้าแรก

 บทความ

 เว็บบอร์ด

 ต้นเหลียง

สถิติ

เปิดเว็บ27/06/2011
อัพเดท12/03/2021
ผู้เข้าชม1,068,288
เปิดเพจ1,458,297

ข้อมูลต้นเหลียง

กิจกรรมการต้านอนุมูลอิสระของสารสกัดคลอโรฟิลล์ด้วยเอทานอลจากผักเหมียง

พันธุ์ผักพื้นบ้านและไม้ผลพื้นเมืองภาคใต้

ข้อมูลของหนังสือผักเหลียง

ผักเหลียงชุมพร

ราชินีแห่งผักพื้นบ้านภาคใต้

ปลูกต้นไม้ ๘๔ ชนิด เพื่อถวายพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

ปลูกผักเหมียงในสวนยาง รายได้ง่าย ๆ

โครงการส่งเสริมอาชีพเสริมและเงินหมุนเวียน

การปลูกผักเหลียง

การศึกษาทางสัณฐานวิทยาและกายวิภาคของผักเหมียง

ปลูกผักเหลียงเป็นพืชแซมสะตอ

เส้นทางศึกษาธรรมชาติเส้นทางที่ 1 ชมธรรมชาติรอบๆป่าวัดสวนวางระยะทาง 500 - 600 เมตร

การปลูก”ผักเหมียง(เหลียง)”ร่วมกับต้นยางพารา

ปลูกผักเหมียงแซมยาง เสริมรายได้

ต้นไม้พื้นบ้านทางใต้ ที่อุดมด้วยคุณค่าทางโภชนาการ และน่าจะปลูกได้ทุกที่

การปลูกผักเหลียงในสวนยาง

ปลูกผักเหลียงในภาคเหนือ

Cara mencegah penuaan dini atasi pakai daun MELINJO !!

ผักปลอดสารพิษ

ผักพื้นบ้าน

iGetWeb.com
AdsOne.com

การปลูกผักเหลียง

การปลูกผักเหลียง

การปลูกผักเหลียง

เนื่องจากผักเหลียงเป็นผักป่าพื้นบ้าน เป็นไม้พุ่มสูงประมาณ 1 -2 เมตร เริ่มปลูกวันนี ้เพียง 2 ปี ก็เก็บยอดมารับประทานหรือขายเป็นรายได้เสริมได้ การปลูกผักเหลียงเหมือนกับการการปลูกไม้ผล ทั่ วๆ ไป คือขุดหลุมกว้าง x ลึก ประมาณ 30 เซนติเมตร คลุกดินก้นหลุมด้วยปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมัก ควร ปลูกต้นฤดูฝน แซมในสวนยางพาราหรือไม้ผลที่โต แล้วมีร่มเงา ไม่ควรปลูกกลางแจ้ง เพราะผักเหลียงโดย ธรรมชาติจะขึ้นแซมในสวนยางพาราหรือต้นสะตอ (ในภาคใต้)

การขยายพันธุ์ผักเหลียงขยายพันธุ์โดยเมล็ด โดยเพาะในกระบะทรายหรือขี้เถ้าแกลบ ประมาณ 4 เดือน เมื่อเมล็ดงอกมีใบ 2 -3 คู่ จึงนำลงถุงเพาะชำเลี้ยงไว้ประมาณ 1 ปี จึงลงแปลงปลูก อีกวิธีหนึ่งคือผักเหลียงเมื่อต้นโตเต็มที่จะมีไหลราก คือรากแขนงที่อยู่ระดับผิวดินจะแตกเป็นต้นได้ ก็สามารถขุดต้นแล้วนำมาลงถุงเลี้ยงไว้ประมาณ 6 เดือน จึงลงแปลงปลูก การขยายพันธุ์อีกวิธีหนึ่งคือ การตอนควรเลือกกิ่งที่ ไม่แก่หรืออ่อนเกินไป ตอนประมาณ 2 เดือนเมื่อรากออกสมบูรณ์แล้ว ตัดลงชำ ในถุงอีกประมาณ 2 – 3 เดือน ก็สามารถนำไปปลูกได้

Tags : การปลูกผักเหลียง

view

ติดต่อเรา / Contact us

E-mail : Bailang@windows.com

Or http://bailang.igetweb.com

view